tatp.or.thtatp.or.th
tatp.or.th
สมาคมการผังเมืองไทย
  • Home
  • Our Activities
  • Mission
  • Contact
  • Home
  • Our Activities
  • Mission
  • Contact
May 2, 2016Design, Planning

 

บทความ เกณฑ์ 8 ข้อในการยกระดับทางเท้าเพื่อสร้างความคึกคักมีชีวิตชีวาให้กับเมือง

โดย ฐาปนา บุณยประวิตร

นักผังเมือง /อุปนายกสมาคมการผังเมืองไทย/สถาบันวิจัยการเติบโตอย่างชาญฉลาดประเทศไทย (Smart Growth Thailand Institute)

23 เมษายน 2558
0

 

1) ขนาดของทางเดินที่เหมาะสมซึ่งสัมพันธ์กับขนาดอาคาร คนใช้ และกิจกรรมการใช้ประโยชน์ โดยแบ่ง พื้นที่ออกเป็น 3 โซนคือ

-โซนวางสาธารณูปโภค/

-โซนไว้เดินอย่างเดียว

-โซนหน้าอาคารเพื่อปรับเปลี่ยนกิจกรรมใช้ประโยชน์และตกแต่งหน้าอาคาร

2) คุณภาพของผิวทาง ความเรียบเนียน งดงาม และแข็งแรง

3) ประสิทธิภาพการระบายน้ำฝน ไม่ให้น้ำท่วมขังผิวทางและทางเท้า (เข้าไปดูเกณฑ์ LEED-ND เพิ่มเติมกัน)

4) การออกแบบให้ทุกคนใช้ได้ ความสมบูรณ์ของการออกแบบ ผิวทางเชื่อมประสานเป็นเนื้อกัน เน้นทางลาดและระบบกันลื่น

5) เป็นโครงข่ายทางเดินที่สามารถเชื่อมต่อกับถนนหรือสามารถเชื่อมไปยังสถานีหรือโหมดการเดินทางอื่นๆ ได้ง่ายและสะดวก มีความปลอดภัยด้วยการสร้างทางลาดโค้งเพื่อปกป้องอุบัติเหตุจากยวดยานอื่น

6) เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ดึงดูดใจให้คนมาใช้ ด้วยความงดงาม และความสมดุลของสภาพแวดล้อม และระบบเศรษฐกิจสองข้างทาง

7) ใช้ได้ตลอดช่วงเวลาอย่างปลอดภัยและสะดวกไม่ว่าจะเป็นเวลากลางคืน ช่วงวันทำงาน และช่วงวันหยุด และ

8) มีป้ายบอกทิศทางที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ระบุตำแหน่งที่ตั้งที่สามารถเดินถึงหรือเข้าถึงด้วยรถขนส่งมวลชนจากที่ตั้งของป้ายไปยังที่หมาย

 

อ่านสรุปผ่านๆ ครับ ไม่ได้แปลตรงตัว มีเวลาเข้าอ่านเพิ่มเติมกันครับ (Credit: The CityFix);

เครดิตภาพทั้งหมด และบทความจากลิ้งก์ด้านล่างครับ

http://thecityfix.com/blog/the-eight-principles-of-the-sidewalk-building-more-active-cities-paula-santos/

 

1

ทางเดิน บาทวิถีเป็นส่วนที่เมืองต้องให้ความสำคัญลำดับต้นๆให้ความสำคัญคนเดิน คนสัญจรทางเท้าเป็นลำดับแรกสุด

ที่มา : http://thecityfixbrasil.com/2015/04/01/nossa-cidade-os-oito-principios-da-calcada/

 

2

ขนาดของทางเดินที่เหมาะสมซึ่งสัมพันธ์กับขนาดอาคาร คนใช้ และกิจกรรมการใช้ประโยชน์ โดยแบ่ง พื้นที่ออกเป็น 3 โซนคือ

-โซนวางสาธารณูปโภค/

-โซนไว้เดินอย่างเดียว

-โซนหน้าอาคารเพื่อปรับเปลี่ยนกิจกรรมใช้ประโยชน์และตกแต่งหน้าอาคาร

 

3

คุณภาพของผิวทาง ความเรียบเนียน งดงาม และแข็งแรง

 

4

ประสิทธิภาพการระบายน้ำฝน ไม่ให้น้ำท่วมขังผิวทางและทางเท้า (เข้าไปดูเกณฑ์ LEED-ND เพิ่มเติมกัน)

 

5

การออกแบบให้ทุกคนใช้ได้ ความสมบูรณ์ของการออกแบบ ผิวทางเชื่อมประสานเป็นเนื้อกัน เน้นทางลาดและระบบกันลื่น

 

6

เป็นโครงข่ายทางเดินที่สามารถเชื่อมต่อกับถนนหรือสามารถเชื่อมไปยังสถานีหรือโหมดการเดินทางอื่นๆ ได้ง่ายและสะดวก มีความปลอดภัยด้วยการสร้างทางลาดโค้งเพื่อปกป้องอุบัติเหตุจากยวดยานอื่น

 

7

ออกแบบ เกี่ยวกับวัตถุสะท้อนแสง เพื่อช่วยในการลดผลกระทบเรื่องความร้อนในพื้นที่

 

8

ใช้ได้ตลอดช่วงเวลาอย่างปลอดภัยและสะดวกไม่ว่าจะเป็นเวลากลางคืน ช่วงวันทำงาน และช่วงวันหยุด

 

9

มีป้ายบอกทิศทางที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ระบุตำแหน่งที่ตั้งที่สามารถเดินถึงหรือเข้าถึงด้วยรถขนส่งมวลชนจากที่ตั้งของป้ายไปยังที่หมาย

walkable cityเมืองแห่งการเดิน
Related posts
สระบุรี ใช้ “สมาร์ทบัส” สายแรก เม.ย.62
February 19, 2019
5 บทความ TOD (การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน) ที่ไม่ควรพลาด
February 15, 2019
TOD ต้องใช้เกณฑ์อย่างเคร่งครัด บทความโดย ฐาปนา บุณยประวิตร
February 15, 2019
ภาษีกับการวางแผนการใช้ที่ดิน บทความโดย ฐาปนา บุณยประวิตร
February 9, 2019
การเก็บค่าธรรมเนียม T-Charge ใจกลางมหานครลอนดอน บทความโดย ดร.ปีดิเทพ อยู่ยืนยง
February 7, 2019
เขตปล่อยมลภาวะต่ำสุดในมหานครลอนดอน
February 2, 2019
อุดรธานี: กฎบัตรแรกของไทย
February 2, 2019
สุทธิชัย หยุ่น ถอดบทเรียนบริษัทพัฒนาเมือง ในฐานะ new platform รูปแบบการพัฒนาประเทศ
February 2, 2019
การกระตุ้นการใช้ที่ดินเพื่อสร้างเศรษฐกิจ บทความโดย ฐาปนา บุณยประวิตร
February 1, 2019
ยกระดับสตรีทฟู้ดอุดรธานีตั้งเป้า 2 ปีเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจ 1.2หมื่นล้าน
January 29, 2019
อีเมล์รับข่าวสาร
ท่านสามารถลงทะเบียน เพื่อรับข่าวสารอิเล็คโทรนิกส์ เราจะส่งข่าวสารให้ท่าน ทางอีเมล์ เพื่อลงทะเบียนรับข้อมูลข่าวสารอิเล็กทรอนิกส์ กรุณากรอกรายละเอียด ของท่านและคลิกปุ่ม “Subscribe”
Name
Email *
Find Us On Facebook
 

 
  • สระบุรี ใช้ “สมาร์ทบัส” สายแรก เม.ย.62
    February 19, 2019
  • 5 บทความ TOD (การพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน) ที่ไม่ควรพลาด
    February 15, 2019
  • TOD ต้องใช้เกณฑ์อย่างเคร่งครัด บทความโดย ฐาปนา บุณยประวิตร
    February 15, 2019
  • ภาษีกับการวางแผนการใช้ที่ดิน บทความโดย ฐาปนา บุณยประวิตร
    February 9, 2019
  • การเก็บค่าธรรมเนียม T-Charge ใจกลางมหานครลอนดอน บทความโดย ดร.ปีดิเทพ อยู่ยืนยง
    February 7, 2019
  • เขตปล่อยมลภาวะต่ำสุดในมหานครลอนดอน
    February 2, 2019
  • อุดรธานี: กฎบัตรแรกของไทย
    February 2, 2019
  • สุทธิชัย หยุ่น ถอดบทเรียนบริษัทพัฒนาเมือง ในฐานะ new platform รูปแบบการพัฒนาประเทศ
    February 2, 2019
  • การกระตุ้นการใช้ที่ดินเพื่อสร้างเศรษฐกิจ บทความโดย ฐาปนา บุณยประวิตร
    February 1, 2019
  • ยกระดับสตรีทฟู้ดอุดรธานีตั้งเป้า 2 ปีเพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจ 1.2หมื่นล้าน
    January 29, 2019